การดับทุกข์ ฝึก 8 อย่าง จะได้ไม่ ทุกข์ | PURIFILM channel
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
การดับทุกข์ ฝึก 8 อย่าง จะได้ไม่ \”ทุกข์\”
จัดทำ และบรรยายเสียงโดย. PURIFILM Channel
ติดตามรับชมได้ที่ :
Youtube : https://www.youtube.com/c/PurifilmMv
Blogger : http://purifilm.blogspot.com/
Facebook : https://www.facebook.com/purifilmOnline/
(เป็นความเชื่อส่วนบุคคล โปรดใช้วิจารณญาณในการรับชม)
ธรรมะสอนใจ ฝึกการดับทุกข์
หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช⭐การแก้ทุกข์ทางใจ
พระธรรมเทศนาโดย
หลวงพ่อปราโมทย์๐ปาโมชฺโช
วัดสวนสันติธรรม๐อ๐ศรีราชา๐จ๐ชลบุรี
⭐ไลฟ์สดเสาร์อาทิตย์ หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช เวลา 9:0010:00 น. ที่
https://www.facebook.com/dhammateachings/
⭐สามารถเข้าไปดาวโหลดเสียง MP3 ที่ https://www.dhamma.com/thdownloads/ (500520(ศาลาลุงชิน11))
⭐ติดต่อรับสื่อCDและหนังสือธรรมะฟรีที่เฟสบุค \”มูลนิธิสื่อธรรมหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช\”
⭐ติดตามไลฟ์สดทางเฟสบุค ธรรมะ ชิวชิว https://www.facebook.com/dhammachilchil/
หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม : ทุกข์มาก เครียดมาก เชิญฟัง – อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน สิงห์บุรี
หลวงพ่อจรัญ ธรรมะสอนใจ ปล่อยวาง
พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 3
ความทุกข์ มีทุกที่ ทุกสิ่ง ทุกอย่าง
ทุกข์ หรือ ทุกขัง (บาลี: ทุกฺข) เป็นหลักธรรมสำคัญในพระพุทธศาสนา แปลว่าทนอยู่ในสภาพเดิมได้ยาก โดยทั่วไปหมายถึง สังขารทั้งปวง อันได้แก่ ขันธ์ 5 ซึ่งเป็นที่ตั้งของกองทุกข์
ในทางพระพุทธศาสนา การกำหนดทุกข์ถือเป็นกิจในอริยสัจ 4 ที่ชาวพุทธต้องทำเพื่อละและปล่อยวางในลำดับต่อไปในกิจทั้งสี่ในอริยสัจ อันได้แก่ รู้ทุกข์ เพื่อค้นหาสาเหตุในการดับทุกข์ (สมุทัย) แล้วจึงตั้งจุดมุ่งหมายในการดับทุกข์ (นิโรธ) และดำเนินตามเส้นทางสู่ความดับทุกข์ (มรรค) คือสละ ละ ปล่อยวาง ไม่ยึดติดในใจด้วยอำนาจกิเลส
ทุกข์ในอริยสัจ :
ทุกข์ถือเป็นความจริงอันประเสริฐข้อที่ 1 ในอริยสัจ 4 จึงเรียกว่าทุกขสัจ มี 11 อย่าง ได้แก่ :
1. ชาติ หมายถึง ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลงเกิด เกิดจำเพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
2. ชรา หมายถึง ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่นเป็นเกลียว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
3. มรณะ หมายถึง ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความแตกทำลาย ความหายไป มฤตยู ความตาย ความทำกาละ ความทำลายแห่งขันธ์ ความทอดทิ้งซากศพไว้ ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
4. โสกะ หมายถึง ความสใจ กิริยาที่แห้งใจ ภาวะแห่งบุคคลผู้แห้งใจ ความผาก ณ ภายใน ความแห้งผาก ณ ภายใน ของบุคคลผู้ประกอบด้วย ความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือ ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่ง กระทบแล้ว
5. ปริเทวะ หมายถึง ความคร่ำครวญ ความร่ำไรรำพัน กิริยาที่คร่ำครวญ กิริยาที่ร่ำไรรำพัน ภาวะของบุคคลผู้คร่ำครวญ ภาวะของบุคคลผู้ร่ำไรรำพัน ของบุคคลผู้ประกอบด้วย ความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือทุกข์ อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบแล้ว
6. ทุกข์ (กาย) หมายถึง ความลำบากทางกาย ความไม่สำราญทางกาย ความเสวยอารมณ์ อันไม่ดีที่เป็นทุกข์เกิดแต่ กายสัมผัส
7. โทมนัส หมายถึง ความทุกข์ทางจิต ความไม่สำราญทางจิต ความเสวยอารมณ์อันไม่ด ีที่เป็นทุกข์เกิดแต่ มโนสัมผัส (สัมผัสทางใจ นึกคิดขึ้นมา)
8. อุปายาส หมายถึง ความแค้น ความคับแค้น ภาวะของบุคคลผู้แค้น ภาวะของบุคคลผู้คับแค้น ของบุคคล ผู้ประกอบด้วยความพิบัติ อย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือ ทุกข์ อย่างใดอย่างหนึ่ง กระทบแล้ว
9. ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก หมายถึง ความประสบ ความพรั่งพร้อม ความร่วม ความระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (ความรู้สึกทางกาย) อันไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ หรือด้วย บุคคลผู้ปรารถนาสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ปรารถนาความไม่ผาสุก ปรารถนาความไม่เกษมจากโยคะ (กิเลส) ซึ่งมีแก่ผู้นั้น
10. ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก หมายถึง ความไม่ประสบ ความไม่พรั่งพร้อม ความไม่ร่วม ความไม่ระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ หรือด้วยบุคคลผู้ปรารถนาประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่เกื้อกูล ปรารถนาความผาสุก ปรารถนาความเกษม จากโยคะ คือ มารดา บิดา พี่ชาย น้องชาย พี่หญิง น้องหญิง มิตร อมาตย์ หรือ ญาติสาโลหิต ซึ่งมีแก่ผู้นั้น
11. ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น หมายถึง ความปรารถนาย่อมบังเกิดแก่ สัตว์ผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความแก่เป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความเจ็บเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความตายเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มี โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาสเป็นธรรมดา อย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมีความเกิดเป็นธรรมดา ขอความเกิดอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความแก่เป็นธรรมดา ขอความแก่อย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความเจ็บเป็นธรรมดา ขอความเจ็บอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความตายเป็นธรรมดา ขอความตายอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมี โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส เป็นธรรมดา ขอโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส อย่ามีมาถึงเราเลย สัตว์ไม่พึงได้สมความปรารถนา
..สรุปว่า อุปาทานขันธ์ 5 ทั้งหมดนั่นเองที่เป็นทุกขสัจ เป็นโทษ เป็นภัยที่สุด.
กิเลส (บาลี: กิเลส; สันสกฤต: क्लेश เกฺลศ) หมายถึง สภาพที่ทำให้จิตเศร้าหมอง
คำว่า กิเลส แปลว่า สิ่งที่เศร้าหมอง หรือ เครื่องทำให้เกิดความเศร้าหมอง
กิเลสวัตถุ : กิเลสวัตถุ 10 ได้แก่..
1. โลภะ ความอยากได้
2. โทสะ ความคิดประทุษร้าย
3. โมหะ ความหลง
4. มานะ ความถือตัว
5. ทิฏฐิ ความเห็นผิด
6. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
7. ถีนะ ความหดหู่
8. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน
9. อหิริกะ ความไม่ละอายบาป
10. อโนตตัปปะ ความไม่เกรงกลัวบาป
ทางพ้นทุกข์
Playlist : http://www.youtube.com/playlist?list=PL6FB5783270AF7D47
เสียงอ่านพระธรรมเทศนาพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) แห่งวัดหนองป่าพง
ให้เสียงโดย ธรรมสภา
ภาพประกอบจาก : National Geographic และอาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
วิธีควบคุมความคิดและความรู้สึกในแง่ลบ
พุทธวิธีควบคุมความคิด
พระนิพนธ์ สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
วัดบวรนิเวศวิหาร
ติดตามธรรมะดีๆทาง Youtube https://goo.gl/1fASM9
ติดตามธรรมะดีๆ ทางเฟสบุค https://www.facebook.com/1lifeisshort/
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆStudy